การพัฒนาที่ยั่งยืน - AN OVERVIEW

การพัฒนาที่ยั่งยืน - An Overview

การพัฒนาที่ยั่งยืน - An Overview

Blog Article

“ปัจจัยถัดมาคือ ความคาดหวังว่าเทคโนโลยีที่จะต้องใช้ง่าย เมื่อคนรู้สึกว่าง่ายและมีประสิทธิภาพดี พฤติกรรมความตั้งใจจะสูงขึ้น บวกกับอิทธิพลทางสังคม เช่น หน่วยงานที่มีความพร้อม ย้ำว่าหน่วยงานที่มีความพร้อม เพราะจากประสบการณ์ หลาย ๆ มหาวิทยาลัยจะมีหน่วยงานที่เรียกว่าเป็นต้นแบบในการนำเครื่องมือตัวที่เป็นดิจิทัลมาใช้ และเมื่อเริ่มใช้แล้วมีประสิทธิภาพดี ใช้งานง่าย ย่อมส่งอิทธิพลต่อหน่วยงานอื่น ๆ ว่ามหาวิทยาลัยเริ่มขยับมาใช้วิธีการหรือกระบวนการอย่างนี้แล้ว ถ้าคุณยังไม่ทำ ยังใช้วิธีการเดิม ๆ อิทธิพลตรงนี้จะช่วยขับให้เกิดความตั้งใจในการปรับพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีตรงนี้อีกส่วนหนึ่ง ปัจจัยสุดท้ายคือ สิ่งอำนวยความสะดวก ซึ่งชี้ไปที่พฤติกรรมการใช้งานใหม่ หมายความว่าต่อให้อำนวยความสะดวกหรือมีเทคโนโลยีใหม่ ๆ ให้คนใช้มากเท่าไร แต่หากไม่มีความตั้งใจในการใช้พฤติกรรม วันหนึ่งคุณอาจจะไม่ใช้เทคโนโลยีตัวนั้นเลยก็ได้ นี่คือการใช้ทฤษฎีมาอธิบายสิ่งที่เห็นและปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นระหว่างทางของโครงการ”

งานของเราเกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนใน ประเทศไทย งานของเราเกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนใน ประเทศไทย

การเปลี่ยนผ่านจากเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษไปสู่เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนในประเทศไทย

    เพราะเราเชื่อมั่นว่า การพัฒนาที่มุ่งรักษาสมดุลระหว่างเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เป็นแนวทางที่ทำให้เราเติบโตไปอย่างมั่นคงและยั่งยืน

..ในจำนวนอดีตที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลก มี พันศักดิ์ วิญญรัตน์ ที่ปรึกษาชุดนโยบายเพื่อไทย รวมอยู่ด้วย...ยุคนั้นล้วนแต่เป็นคนหนุ่มรุ่นใหม่ อาทิ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร, ณรงค์ชัย อัครเศรณี, ชวนชัย อัชนันท์, บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และ ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย...

ผู้ช่วยเลขาธิการยูเอ็นที่อายุน้อยที่สุดในประวัติศาสตร์

..ลดราคาพลังงานและสาธารณูปโภค...กระตุ้นเศรษฐกิจด้วยดิจิทัลวอลเล็ต...ยกระดับการเกษตรแบบดั้งเดิมให้เป็นเกษตรทันสมัย......ส่งเสริมการท่องเที่ยว...แก้ปัญหายาเสพติดอย่างเด็ดขาด...

ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับงานของเราเพื่อเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน งาน งาน

ความท้าทายและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ได้แก่ นโยบายเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก สนับสนุนพลังงานทดแทนและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานควรมีความต่อเนื่อง มีกรอบเวลาที่ยืดหยุ่น และมีการเชื่อมโยงกับเรื่องอื่น ๆ ผ่านกลไกการสร้างความร่วมมือในทุกภาคส่วน การทําวิจัยร่วมระหว่างภาครัฐและเอกชนโดยให้ทุนวิจัยอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งให้มีการใช้งบประมาณอย่างมีศักยภาพ เพื่อส่งเสริมเทคโนโลยีทางด้านพลังงานและการนําข้อมูลไปใช้ร่วมกัน เพิ่มการมองการเข้าถึงพลังงานจากแง่มุมคุณภาพชีวิต อาทิ การขาดการเข้าถึงพลังงานของคนรายได้ต่ำ และให้ความสําคัญและพัฒนาเรื่องภาษีคาร์บอนอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งกําหนดนโยบายหรือมาตรการสนับสนุนพลังงานสะอาดที่ไม่ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

คณะกรรมการเสริมสร้างขีดความสามารถของชุมชนในท้องถิ่นโดยมีนายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี การพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นประธานคณะกรรมการ

คณะอนุกรรมการ ส่งเสริมการพัฒนาที่ ยั่งยืนตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง

หวนเยือนสามชุก ‘ตลาดมีชีวิต พิพิธภัณฑ์มีชีวา’

บทสัมภาษณ์ ศาสตราจารย์ ดร.ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์

ทุกประการ...ส่วนจะโยนหินถามทางเปิดตำแหน่ง ประธานที่ปรึกษานายกฯ ให้อดีตผู้นำ ทักษิณ ชินวัตร โดยการตั้ง คณะที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจและความมั่นคง ขึ้นมา...เหมือนสมัย รัฐบาล พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ ตั้งที่ปรึกษา บ้านพิษณุโลก ขึ้นมาช่วยงาน.

Report this page